วันพุธที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2556

พระพุทธศาสนากับสังคมวิทยา


พระพุทธศาสนากับสังคมวิทยา
(BUDDHISM  AND  SOCIOLOGY)
อาจารย์ปรีชา  เมธาวัสรภาคย์

พุทธศาสตร์ศึกษาอะไร
v   คำสอนของพระพุทธเจ้า
v   คำอธิบายพระไตรปิฎก
v   พระพุทธจริยวัตร
v   จริยวัตรของพะรพุทธสาวกที่สำคัญ
v   วิธีการที่จะได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจ   ปริยัติ  ปฏิบัติ  และปฏิเวธ
สังคมวิทยาศึกษาอะไร
                          SOCIOLOGY IS A BODY OF SCIENTIFIC KNOWLEDGE ABOUT HUMAN RELATIONSHIPS : JONH F.CUBER,1968.
o   ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล  เป็นความสัมพันธ์แบบปฏิสัมพันธ์
o   ศึกษากระบวนการอยู่ร่วมกันของบุคคลในสังคม
o   วิธีการที่จะได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจ  ของทั้งสองศาสตร์เป็นประเด็นหลัก

กระบวนการศึกษาทางสังคมวิทยา
ทฤษฎี

(SOCIOLOGICAL THEORETICAL)
 
 

          ระดับทฤษฎี
(THEORETICAL LEVEL)
 


                                                                      วิธีอุปนัย                                                                                วิธีนิรนัย
                                                    (EMPIRICAL RESEARCH)                                            (DEDUCTIVE METHOD)                 
การวิจัยเชิงประจักษ์
(EMPIRICAL  RESEARCH)
 
       ระดับชีวิตจริง
(EMPIRICAL LEVEL)
วิทยาศาสตร์มีความหมายอยู่  ๒  ประการ   
Ø    เป็นผลรวมของความรู้  มีการจัดหมวดหมู่และพิสูจน์ได้ความรู้
ดังกล่าวต้องพิสูจน์และเรียนรู้ได้
Ø    เป็นวิธีการศึกษาซึ่งทำให้เกิดผลรวมของความรู้
 กระบวนการ

                                         INPUT                                                                OUTPUT


                      สิ่งอะไรที่พิสูจน์ไม่ได้เป็นนามธรรม                           เป็นเหตุเป็นผล 

วิธีการศึกษาของสังคมวิทยาและ พุทธศาสตร์
การศึกษาทางสังคมวิทยา  ประกอบด้วย  ลักษณะสำคัญ  ๔  ประการ
Ø    เชิงประจักษ์  :  สมมติฐาน  เป็นการพิสูจน์ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง ๕
Ø    ความมีเหตุผล :  เพื่อวิเคราะห์ความหมายมโนทัศน์โดยวิธีการนิรนัยและอุปนัย กล่าวคือแนวคิดพระพุทธเจ้าที่ว่า มนุษย์มีจริตที่แตกต่างกันบนพื้นฐานจริตของมนุษย์
Ø    การค้นหากฎทั่วไป  :  หรือกฎสากลเพื่อจุดสูงสุดทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกับสังคมวิทยา
·       สังคมวิทยาเป็นการสร้างจุดร่วม  โดยศึกษาพฤติกรรมมนุษย์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้จริตมนุษย์ มีการจัดหมวดหมู่ต่างๆ (ในพระไตรปิฎก)
Ø    การสะสมความรู้  :  ศึกษาว่าในสังคมวิทยาในอดีตมีอะไร
                                   :  เป็นลักษณะโครงร่างชั่วคราว(สังคมวิทยา)
                                                                                                         ในพระพุทธศาสนา  เป็นอกาลิโก (เป็นสิ่งที่ปฏิบัติ   ได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาลแต่สังคมวิทยาขึ้นอยู่กับเวลา  เพราะฉะนั้น 
จึงเป็นลักษณะ โครงร่างชั่วคราวจึงไม่เป็นความจริงสูงสุด  เป็นเพียงความ น่าจะเป็น
                                                     พุทธศาสนาเชื่ออะไร
1.             เชื่อกรรม(กัมมสัทธาตรงกับสังคมวิทยา : ลงมือกระทำ
2.             เชื่อผลของกรรม(วิปากสัทธา)
3.             เชื่อว่าบุคคลมีกรรมเป็นของตน(กัมมัสสกตาสัทธา)
4.             เชื่อว่าความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า(ตถาคตโพธิสัทธา)
    สังคมวิทยาแนวพุทธ
Ø    แนวคิดเกี่ยวกับความจริงของโลก ในระดับทฤษฎี
Ø    การพิสูจน์แนวคิดจากการค้นหาหลักฐานในชีวิตจริง(ระดับการวิจัย)
    ระดับทฤษฎี
o   ขั้นกำหนดสาเหตุของปัญหาหรือ สมุทัย
o   ขั้นกำหนดสมมติฐานหรือ นิโรธ
o   ขั้นกำหนดปัญหาหรือ ทุกข์
                                               ระดับการวิจัย(มรรค)
o   ขั้นแสวงหาข้อพิสูจน์หรือข้อมูล(เอสนา)
o   ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(วิมังสา)
o   ขั้นสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล(อนุโพธ)
กระบวนการศึกษาปรากฏของโลกตามแนวพุทธ
v   ระดับทฤษฎี แนวคิดเกี่ยวกับความจริงของโลก
v    ระดับข้อเท็จจริง หลักฐานจากข้อเท็จจริง
** ทั้งสองทฤษฎีมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
ความรู้ของพระพุทธศาสนา
1.             สุตมยปัญญา  ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเล่าเรียน  เป็นความรู้ระดับทฤษฎี
2.             จินตามยปัญญา ความรู้เกิดจากการวิเคราะห์ เป็นไปเพื่อให้เกิดปัญญา
3.             ภาวนามยปัญญา ความรู้จากประสบการณ์ตรง
หลักการของพระพุทธศาสนา กับ สังคมวิทยา
1.             คำสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม
2.             บทบาทของพุทธศาสนาที่มีต่อบุคคลและสังคม
v   บทบาทหน้าที่ต่อบุคคล : เพื่อสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็น , สนองความต้องการในด้านการแสดงออก , สนองความต้องการในสิ่งที่เป็นสาระ
v   บทบาทหน้าที่ต่อสังคม : เป็นสื่อในการอบรมให้รู้ระเบียบสังคม , เป็นสื่อในการควบคุมสังคม , เป็นสื่อในการทำให้สังคมเป็นปึกแผ่น , เป็นสื่อในการกำหนดความเป็นสมาชิกของสังคมและเป็นสถาบันสวัสดิการทางสังคม
ขอบเขตของสังคมวิทยาแนวพุทธศาสตร์
** เพื่อตรงกับศาสตร์สมัยใหม่หรือบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ **
สรุป  สังคมวิทยาและพุทธศาสตร์
v   เป็นทฤษฎีที่อยู่บนเส้นทางเดียวกัน หรือความจริงเหมือนกัน
v   บทสรุป
o   สังคมวิทยาคือความน่าจะเป็น
o   พุทธศาสนาคือความจริงสูงสุด
เป้าหมาย 1. เป้าหมายของสังคมวิทยาอยู่ที่มนุษย์สมบัติ 2. เป้าหมายของพุทธศาสตร์อยู่ที่นิพพานสมบัติ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น